ตารางที่ 4 – 2 แสดงให้เห็นว่า มุมมองแบบดั้งเดิมที่คุณภาพเป็นหน้าที่หนึ่งหรือหน่วยงานหนึ่งในองค์การ ซึ่งมีผู้ปฏิบัติงานรับผิดชอบประจำ จะไม่เพียงพอต่อการทำธุรกิจให้แข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแตกต่างจาก TQM ซึ่งเป็นระบบคุณภาพที่แทรกอยู่ในทุกการดำเนินงาน และลมหายใจเข้าออกขององค์การ ซึ่งต้องตระหนักถึงความสำคัญของคุณภาพ เรียนรู้จากปัจจัยแวดล้อม และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ดังที่ Oakland (1993) กล่าวว่า เราไม่สามารถจะมองข้ามความสำคัญในการนำคุณภาพ มาเป็นอาวุธเชิงกลยุทธ์ขององค์การและผู้บริหารในหลายองค์การได้นำ TQM มาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเพื่ออนาคต
Friday, December 30, 2011
TQM กับการบริหารคุณภาพแบบเดิม
ตารางที่ 4 – 2 แสดงให้เห็นว่า มุมมองแบบดั้งเดิมที่คุณภาพเป็นหน้าที่หนึ่งหรือหน่วยงานหนึ่งในองค์การ ซึ่งมีผู้ปฏิบัติงานรับผิดชอบประจำ จะไม่เพียงพอต่อการทำธุรกิจให้แข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแตกต่างจาก TQM ซึ่งเป็นระบบคุณภาพที่แทรกอยู่ในทุกการดำเนินงาน และลมหายใจเข้าออกขององค์การ ซึ่งต้องตระหนักถึงความสำคัญของคุณภาพ เรียนรู้จากปัจจัยแวดล้อม และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ดังที่ Oakland (1993) กล่าวว่า เราไม่สามารถจะมองข้ามความสำคัญในการนำคุณภาพ มาเป็นอาวุธเชิงกลยุทธ์ขององค์การและผู้บริหารในหลายองค์การได้นำ TQM มาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเพื่ออนาคต
Labels:
TQM,
การบริหารคุณภาพแบบเดิม
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
0 comments:
Post a Comment